สภาพทางนิเวศวิทยา :
|
นิเวศวิทยา
ถิ่นกำเนิด อเมริกาใต้เขตร้อน
การกระจายพันธุ์
การใช้งานด้านภูมิทัศน์ เจริญเติบโตเร็วและแข็งแรง เหมาะสำหรับการสร้างพื้นที่สีเขียวได้เร็ว ใบแห้งเป็นส่วนผสมของดินปลูกที่ดีที่สุด
|
การปลูกและการขยายพันธุ์ :
|
ดินทุกชนิด เป็นไม้กลางแจ้ง
เพาะเมล็ด
|
รายละเอียดการใช้ประโยชน์ :
|
- เปลือกต้นป่นละเอียดเป็นยาสมานแผล
- เปลือกต้นและเมล็ดรักษาอาการบิด ท้องเสีย [1]
- เนื้อไม้ใช้ในงานแกะสลัก ทำเครื่องใช้ เครื่องเรือนต่างๆ [1], [2]
- ใบแก้ปวดแสบปวดร้อน
- เมล็ดแก้โรคผิวหนังเปลือกสมานแผลในปากคอ แก้ท้องร่วง
- ฝักแก่เป็นอาหารสัตว์ [2]
|
แหล่งอ้างอิง :
|
[1] คณะผู้ดำเนินงานโครงการให้ความรู้ด้านพฤกษศาสตร์แก่บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2553ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
[2] เอื้อมพร วีสมหมาย และปณิธาน แก้วดวงเทียน. 2552. ไม้ป่ายืนต้นของไทย 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. เอช เอ็น กรุ๊ป จำกัด. กรุงเทพมหานคร.
[3] ต้นไม้และดอกไม้ประจำจังหวัด http://www.panmai.com/ 23082553
|
ประเภทของการใช้ประโยชน์ :
|
|
ที่อยู่ :
|
|
หมายเหตุ :
|
|
รูปพรรณไม้ :
|
|
|
|